เทคนิคการจัดทำเอกสาร Production Part Approval Process (PPAP)

22 มีนาคม 2562

Production Part Approval Process (PPAP)หรือ "การยื่นขออนุมัติชิ้นส่วนการผลิต"ซึ่งPPAPเป็นหนึ่งในCore Toolsตามข้อกำหนดIATF 16949ระบบมาตรฐานคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ ผู้ผลิตที่เกี่ยวข้องกับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ทุกลำดับขั้นจำเป็นจะต้องยื่นเอกสารขออนุมัติชิ้นส่วนการผลิต หรือ"PPAP" ให้กับคู่ค้าของตนตามลำดับขั้น ตามข้อกำหนดจะต้องยื่นเอกสารPPAPให้ลูกค้าช่วงNew Modelและเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงด้านEngineering

      PPAPเป็นเอกสารที่ใช้รับประกันคุณภาพกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ซึ่งมีผลทางกฎหมาย ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโรงงานOEM ทุกที่ค่อนข้างที่จะApprovalเอกสารPPAPยากและต้องมั่นใจว่าเอกสารทุกฉบับได้จัดทำอย่างถูกต้องเป็นไปตามข้อกำหนด ข้อกฎหมายทุกประการ ทุกองค์กรในอุตสาหกรรมยานยนต์ได้มีการอบรมข้อกำหนดProduction Part Approval Process (PPAP)ไปแล้วแต่กลับพบว่าการแปลงข้อกำหนดมาใช้ในการปฏิบัติงานในองค์กรยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร และเอกสารที่ประกอบในPPAPก็มาจากหลายส่วนงาน ดังนั้นผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบรวมถึงผู้ที่ทำการรวบรวมเอกสาร PPAPเพื่อSubmissionให้ลูกค้าต้องเข้าใจความสำคัญและเงื่อนไขเอกสารนั้นเป็นอย่างดี ในหลักสูตรนี้ผู้เข้าอบรมจะได้ทราบเทคนิคการตีความข้อกำหนด การจัดทำเอกสารทั้ง18 Elementและเงื่อนไขการยื่นเอกสารPPAPในแต่ละเฟสอย่างละเอียดทุกฉบับ ทุกขั้นตอน

   1. PPAP Submission Prototype Stages (การทดลองการผลิตชิ้นงานต้นแบบ)

   2. PPAP Submission Pre-Lunch Stages (การทดลองการผลิตเสมือนจริง)

   3. PPAP Submission Mass Production Stages (ผลิตจริง)

รวมถึงการจัดทำเอกสาร ระดับการSubmissionทั้งหมดตามข้อกำหนด PPAPและOEM

• Level 1 - Part Submission Warrant (PSW) only submitted to the customer 

• Level 2 - PSW with product samples and limited supporting data 

• Level 3 - PSW with product samples and complete supporting data 

• Level 4 - PSW and other requirements as defined by the customer 

• Level 5 - PSW with product samples and complete supporting data available for review at the supplier's manufacturing location 

วัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม

    1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจการตีความข้อกำหนดตีความข้อกำหนดและจัดทำ PPAPตามAIAG Manualและข้อกำหนดลูกค้าได้อย่างถูกต้อง

    2.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถทำเอกสารPPAPทั้ง18 Elementและยื่นSubmissionกับลูกค้าได้อย่างถูกต้อง

    3.เพื่อผู้เข้าอบรมมองภาพรวมและสามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดได้อย่างถูกต้อง

    4.เพื่อผู้เข้าอบรมสามารถนำไปประยุกต์กับการทำงานในองค์กรและสามารถตรวจสอบเอกสาร PPAPที่มาจากSupplier'sได้อย่างถูกต้อง

 

เนื้อหาหลักสูตร : เทคนิคการจัดทำเอกสารProduction Part Approval Process (PPAP)

ความหมายและวัตถุประสงค์ของ PPAP 

• PPAPคือ อะไร 

ทำไมต้องทำPPAP 

การยื่นPPAP 

การผลิตสำหรับPPAP 

• PPAP Requirements (AIAG Manual)และOEM 

เมื่อใดที่ต้องแจ้งลูกค้า 

การเตรียมข้อมูลและเอกสารแต่ละเฟส 

• PPAP Submission Prototype Stages (การทดลองการผลิตชิ้นงานต้นแบบ) 

• PPAP Submission Pre-Lunch Stages (การทดลองการผลิตเสมือนจริง) 

• PPAP Submission Mass Production Stages (ผลิตจริง) 

การเตรียมข้อมูลและเอกสารตามระดับการยื่นขออนุมัติ PPAP Levels of Submission 

The PPAP submission requirements are normally divided into five classifications or levels, as follows: 

• Level 1 - Part Submission Warrant (PSW) only submitted to the customer 

• Level 2 - PSW with product samples and limited supporting data 

• Level 3 - PSW with product samples and complete supporting data 

• Level 4 - PSW and other requirements as defined by the customer 

• Level 5 - PSW with product samples and complete supporting data available for review at the supplier's manufacturing location 

การจัดทำเอกสาร18 ElementในPPAP 

1. Design Documentation 

2. Engineering Change Documentation 

3. Customer Engineering Approval 

4. Design Failure Mode and Effects Analysis 

    - Product malfunctions 

    - Reduced performance or product life 

    - Safety and Regulatory issues 

5. Process Flow Diagram 

6. Process Failure Mode and Effects Analysis 

7. Control Plan 

8. Measurement System Analysis Studies 

9. Dimensional Results 

10. Records of Material / Performance Tests 

    - Design Verification Plan and Report (DVP&R) 

    - Test report (ELV/RoHS) 

    - MSDS 

    - COA 

    - International Material Data System (IMDS) 

    - Other's Material requirement 

11. Initial Process Studies 

12. Qualified Laboratory Documentation 

13. Appearance Approval Report 

14. Sample Production Parts 

15. Master Sample 

16. Checking Aids 

17. Customer Specific Requirements 

18. Part Submission Warrant (PSW) 

กิจกรรมกลุ่มWork shop case study +นำเสนอผลการวิเคราะห์และอภิปราย

 

ลักษณะการอบรม :

    1.การบรรยายสื่อสาร2ทาง โดยทฤษฎี30 %ปฏิบัติ70 %

    2.ทำWorkshopกิจกรรมกลุ่ม + นำเสนอผลการวิเคราะห์และอภิปราย

     Note :สอนจากประสบการณ์ในการทำงานจริง และการฝึกอบรมจากต่างประเทศ


ผู้ควรเข้ารับการอบรม

Øผู้ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมยานยนต์,อุตสาหกรรมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์,อุตสาหกรรมอื่นๆ

Øวิศวกรทุกส่วนงาน

Øหัวหน้างานQC/QA, R&D, New Model

Øช่างเทคนิค

Øบุคลากรที่เกี่ยวข้อง หัวหน้างาน


อาจารย์พิทักษ์ บุญชม

 

โรงแรมบูเลอวาร์ด สุขุมวิท ซ.5

 

บุคคลทั่วไป ท่านละ3,900บาท

สมาชิก ท่านละ3,500 บาท

ลงทะเบียน3ท่านขึ้นไป ท่านละ3,200บาท

ลงทะเบียน5ท่านขึ้นไป ท่านละ2,900บาท

**ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม7%**


บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
34/289หมู่บ้านไทยสมบูรณ์ 2หมู่ที่2ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี12120

www.knctrainingcenter.com

[email protected]
โทร. :02-191-2509,062-315-5283

วิทยากร

อาจารย์พิทักษ์ บุญชม



สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมบูเลอวาร์ด กรุงเทพ

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

22 มีนาคม 2562 09.00-16.00

จัดโดย

บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 02-1912509,062-3155283

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 953 ครั้ง