เทคนิค...การเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน

24 มิถุนายน 2563


หัวข้อในการอบรม

หมวด 1: การเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องสหภาพแรงงาน

1.     กฎหมายคุ้มครองแรงงานคุ้มครอง นายจ้าง - คุ้มครองลูกจ้าง อย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : การคุ้มครองนายจ้าง - ลูกจ้าง พร้อมคำอธิบาย

2.     กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ ให้สิทธินายจ้าง - ให้สิทธิ ลูกจ้าง อย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : การได้รับสิทธิของนายจ้าง - การได้รับสิทธิของลูกจ้าง พร้อมคำอธิบาย

3.     ปัญหา ที่ทำให้ลูกจ้างตั้งสหภาพแรงงานมาจากอะไร..?

·   ยกตัวอย่าง : ต้นเหตุมาจากหลายประการพร้อมคำอธิบาย

4.     การเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน - นายจ้าง - ผู้แทนในการเจรจาฝ่ายนายจ้างจะใช้เทคนิค อย่างไร..? (ถึงจะทำให้ตกลงกันได้ในองค์กร)

·   ยกตัวอย่าง : การเสนอเหตุผลและวิธีที่จะทำให้ตกลงกันได้

5. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้อง นายจ้างต้องการสร้างความกดดันให้สหภาพแรงงาน ต้องดำเนินการอย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง :นายจ้าง ยื่นข้อเรียกร้องสวน และการกำหนดข้อเรียกร้องของนายจ้าง

6. กรณีที่นายจ้าง - ลูกจ้างนำที่ปรึกษาของแต่ละฝ่ายเข้าเจรจาข้อเรียกร้องจะเกิดผลกระทบอย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : ปัญหาจะตามมาในรูปแบบต่างๆ พร้อมคำอธิบาย

7. การแจ้งประนอมข้อพิพาทแรงงานจะเกิดผลกระทบอย่างไร..? เพราะจะเป็นการเจรจากันในระบบไตรภาคี              ซึ่งมีผู้แทน 3 ฝ่าย(นายจ้าง - ลูกจ้าง - ภาครัฐ)

·   ยกตัวอย่าง : ผลกระทบในภาพรวมพร้อมคำอธิบาย

8. การชุมนุมนัดหยุดงานที่ผิดกฎหมายของสหภาพฯ เป็นการชุมนุมลักษณะใด.?

·   ยกตัวอย่าง : การชุมนุมในกรณีต่างๆ

9. การปิดงานของนายจ้างที่ผิดกฎหมายเป็นการกระทำในลักษณะใด.?

·   ยกตัวอย่าง : การกระทำในกรณีต่างๆ

10. การปิดงานหรือชุมนุมนัดหยุดงาน - นายจ้าง - ลูกจ้าง จะมีผลกระทบอย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ นายจ้าง - ลูกจ้าง

11. การชุมนุมนัดหยุดงานที่ผิดกฎหมายของสหภาพฯ เป็นการชุมนุมลักษณะใด.?

·   ยกตัวอย่าง : การชุมนุมในกรณีต่างๆ

12. ผู้นำแรงงานชักนำองค์กรสหภาพฯ ไปในทางที่ผิด จะเกิดผลกระทบต่อนายจ้างหรือต่อลูกจ้างอย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : การเกิดผลกระทบต่อนายจ้าง - ผลกระทบต่อลูกจ้าง

13. กรณีนายจ้างต้องการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงที่นายจ้างกับสหภาพแรงงานได้ทำขึ้นต้องดำเนินการอย่างไร..?    

·   ยกตัวอย่าง : เป็นการตกลงกันภายใน จะถือปฏิบัติทำได้หรือไม่..? (ขัดต่อกฎหมายหรือไม่ )

14.การปฏิบัติตนที่ดีของ - สมาชิกสหภาพแรงงาน - กรรมการสหภาพแรงงาน - กรรมการลูกจ้างต้องปฏิบัติอย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : การปฏิบัติตนที่มีจิตสำนึกของการเป็นลูกจ้าง

15.กฎหมายแรงงานจะคุ้มครองหรือไม่คุ้มครองสมาชิกสหภาพแรงงาน - กรรมการสหภาพแรงงาน หรือกรรมการลูกจ้าง ในกรณีใดบ้าง..?

·   ยกตัวอย่าง : การคุ้มครองกรณีต่างๆและไม่คุ้มครองกรณีทำผิดวินัย

16.การ ลงโทษกรรมการลูกจ้างต้องขออำนาจศาลตาม (ม.52) และนายจ้างจะต้องจัดเตรียมเอกสาร - ข้อมูลเพื่อนำเสนอต่อศาลอย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : ลูกจ้างทำผิดวินัยกรณีเป็นผู้นำแรงงาน ( เป็นกรรมการสหภาพแรงงาน )

17.นายจ้าง อนุญาตให้ สมาชิกของสหภาพ - กรรมการสหภาพฯ - กรรมการลูกจ้างไปอบรม - ไปสัมมนา เพื่อเพิ่มพูนความรู้ลูกจ้างเข้าประชุมไม่เต็มเวลานายจ้างจะตรวจสอบและกล่าวโทษอย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : วิธีตรวจสอบ และการลงโทษที่มีผลทางกฎหมาย

18.ในกรณีที่ประธานสหภาพฯ หรือกรรมการลูกจ้างมีพฤติกรรมดื้อ - ก่อกวน - ชอบสร้างปัญหา - เป็นนักบุกระดม เพื่อให้เกิดปัญหาในองค์กรบ่อยๆ  ผู้บริหารหรือHR. จะทำให้หยุดพฤติกรรมได้อย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : การใช้เทคนิคและ วิธีที่จะทำให้ปัญหาหมดไป

19. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้องสหภาพแรงงาน ในเวลาทำงานมีพนักงานจับกลุ่มกัน - ออกนอกหน่วยงาน หรือชุมนุมเพื่อกดดันนายจ้าง - ผู้บริหารหรือHR.จะกล่าวโทษต้องดำเนินการอย่างไร..?

·    ยกตัวอย่าง: การเก็บข้อมูล - การกำหนดความเสียหายที่เกิดขึ้น - การพิจารณาลงโทษทางวินัย

20. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้อง ในเวลาพักหรือในเวลาเลิกงาน มีพนักงานร่วมกันชุมนุมที่หน้าโรงงานใช้เครื่องเสียงประกาศ - ด่าทอ - ชูป้ายมีเขียนข้อความด่านายจ้าง เพื่อกดดันการเจรจาข้อเรียกร้องจะมีความผิดอย่างไร..?

·   ยกตัวอย่าง : ความผิดการใช้เครื่องเสียง - การชูป้ายด่าทอ - การทิ้งงานไปชุมนุม - การชุมนุมแล้วไม่เข้าทำงาน

21. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้อง พนักงานไม่ทำOT.ในวันทำงานปกติหรือในวันหยุดเพราะมีผู้นำแรงงานแนะนำ ผู้บริหาร -HR.จะกล่าวโทษต้องดำเนินการอย่างไร..?

·    ยกตัวอย่าง: การตรวจสอบข้อมูล - การกำหนดความเสียหายที่เกิดขึ้น - การพิจารณาลงโทษทางวินัย

22.กรณีสหภาพแรงงานชุมนุมกันหน้าโรงงานและ ปิดถนน ไม่ให้ รถเข้า - ออก นายจ้างส่งสินค้าให้กับลูกค้าไม่ได้จะเอาผิดสหภาพต้องดำเนินการอย่างไร..?

·    ยกตัวอย่าง:การตรวจสอบความเสียหาย - การพิจารณาเพื่อกำหนดลงโทษ

23. กรณีสหภาพแรงงานเข้าร้องทุกข์ต่อสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด หรือเขตพื้นที่เนื่องจากเกิดข้อพิพาทแรงงานเรื่องสภาพการจ้าง ผู้บริหาร -HR. จ้องดำเดินการอย่างไร..?

·    ยกตัวอย่าง: การจัดเตรียมเอกสาร - การหาข้อมูลเพื่อนำเสนอในการไกล่เกลี่ยปัญหา

24. เมื่อเกิดปัญหาสมาชิกสหภาพแรงงาน - กรรมการสหภาพฯ เข้าร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์

 (ครส.) ที่กระทรวงแรงงาน นายจ้างต้องดำเนินการอย่างไร..?

·    ยกตัวอย่าง:การจัดเตรียมเอกสาร - การหาข้อมูลเพื่อนำเสนอในการต่อสู้คดี

25.ในกรณีที่นายจ้างไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการ(ครส.) ต้องดำเนินการอย่างไร.?

·    ยกตัวอย่าง:ขั้นตอนที่นายจ้างต้องปฏิบัติตามกฎหมาย

หมวด 2:คำพิพากษาฎีกา ที่ตัดสินคดี - กรรมการสหภาพฯ - กรรมการลูกจ้าง 

26. ประธานสหภาพแรงงานซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง ลางาน 3วันเพื่อไปแก้ปัญหาข้อพิพาทแรงงานที่เกิดขึ้นกับลูกจ้างของบริษัทฯ มีจุอ่อนตรงไหน....? ทำไม....? นายจ้างเลิกจ้างได้โดยไม่จ่ายค่าชดเชยใดๆ

·   มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้   พร้อมคำอธิบาย

27. ประธานฯ - กรรมการสหภาพฯ มีสิทธิลางาน เพื่อทำกิจกรรมของสหภาพแรงงาน ตาม พรบ. 18 ม.120                มีกรณีใดบ้าง และ บางกิจกรรมลูกจ้างชอบลาโดยไม่มีสิทธิลา  มีกรณีใดบ้า'..?

·   มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้   พร้อมคำอธิบาย

วิทยากร

อาจารย์สมบัติ น้อยหว้า

·      ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์

   • เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ 9 ปี  (4 สมัย)
   • เป็นผู้ประนอมคดีในชั้นศาลแรงงานกลาง กรุงเทพ

·         เป็นกรรมการ (บอร์ด) ค่าจ้างขั้นต่ำที่กระทรวงแรงงาน
   • เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน จดทะเบียนที่กระทรวงแรงงาน
   • เป็นอนุกรรมการประกันสังคม สำนักงานใหญ่ จ.นนทบุรี
   • เป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท ดับบลิว เอส เอส กรุ๊ป ประเทศไทย จำกัด

·      • เป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคลบริษัท ดับบลิว เอส เอส กรุ๊ป ประเทศไทยจำกัด

1.         วิทยากรบรรยายหลักสูตร ประเด็นเกิดวิกฤต โรคCOVID-19 ระบาด นายจ้างรับมืออย่างไร..? รุ่นที่3

2.         วิทยากรบรรยายหลักสูตร30 ประเด็นเด็ด !!! ในการปรับลดค่าจ้าง-เลิกจ้าง ช่วงวิกฤตCovid-19  นายจ้างและฝ่ายHR 

             ควรรับมืออย่างไรให้ถูกต้อง

3.         วิทยากรบรรยายหลักสูตร40ประเด็น เด็ดๆ..ที่ผู้บริหารงานHR.มือใหม่ต้องรู้

4.          วิทยากรบรรยายหลักสูตรการจ้างแรงงานต่างด้าวอย่างถูกกฎหมายภายใต้ MOU.

5.          วิทยากรบรรยายหลักสูตรการบริหารงาน-บริหารคนของนายจ้างในบริษัทเอกชน

6.          วิทยากรบรรยายหลักสูตรสวัสดิการ-ลงโทษ-เลิกจ้างที่ผู้บริหารและHR.ห้ามพราด

7.          วิทยากรบรรยายหลักสูตรการบริหารงานHR.ที่กล่าวโทษ-เลิกจ้าง-ต่อสู้ให้ชนะคดี

8.          วิทยากรบรรยายหลักสูตรเทคนิคการเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน

9.          วิทยากรบรรยายหลักสูตรการเขียนสัญญาจ้าง-เขียนระเบียบปฏิบัติ-ประกาศ-คำสั่ง

10.        วิทยากรบรรยายหลักสูตรUpdate กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ที่ใช้ปี 2563

11.        วิทยากรบรรยายหลักสูตรการบริหารและขอบเขตการใช้อำนาจตามหน้าที่ของหัวหน้างาน

 

 



สถานที่อบรม (VENUE)

Arize Hotel สุขุมวิท 26

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

24 มิถุนายน 2563 09.00-16.00

จัดโดย

Hrdzenter
เบอร์ติดต่อ : 090-645-0992, 089-606-0444

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 413 ครั้ง