Update กฎหมายประกันสังคมที่มีผลบังคับใช้ล่าสุดปี พ.ศ.2566

26 เมษายน 2566


 วัตถุประสงค์

 

1.          เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมทราบถึง การUpdateของกฎหมายประกันสังคมที่มีผลบังคับใช้ล่าสุดในปี 2566 มีกรณีใดบ้าง... และการได้รับสิทธิของผู้ประกันตน ตาม ม.33 จากกองทุนประกันสังคมมีกรณีใดบ้าง หรือในกรณีลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยที่นอกเหนือจากการทำงานให้กับนายจ้างจะได้รับสิทธิการรักษาพยาบาลและการขาดรายได้อย่างไร..?

 

2.          เพื่อให้ผู้ประกันตน ตาม ม.33 ทราบถึงการได้รับสิทธิจากกองทุนประกันสังคม ในกรณีเจ็บป่วย ถึงแก่ความตายหรือสูญหาย การได้รับสิทธิเงินบำเหน็จ เงินบำนาญชราภาพ หรือการได้รับสิทธิ กรณีว่างงานจากสำนักงานประกันสังคมมีกรณีใดบ้าง..?

                

หัวข้อในการอบรม                                                                                     

          *** หมวด1: การได้รับสิทธิของผู้ประกันตนจากกองทุนประกันสังคม***

1.      วัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐที่จัดตั้งกองทุนประกันสังคมขึ้น มีจุดประสงค์หลักอย่างไร..?

2.      ลูกจ้างที่เป็นผู้ประกันตน ตาม ม.33 จะได้รับสิทธิจากกองทุนประกันสังคมมีกรณีใดบ้าง..?

3.      กรณีเจ็บป่วยนอกเวลาทำงาจะได้รับสิทธิการรักษาพยาบาลตามสิทธิอย่างไร..?

4.      ในระหว่างเจ็บป่วยและหยุดงานจะได้รับสิทธิเงินทดแทนการขาดรายได้จากกองทุนประกันสังคมอย่างไร..?

5.      กรณีประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยฉุกเฉินไม่สามารถเข้ารับการรักษาโรงพยาบาลตามสิทธิได้ต้องดำเนินการอย่างไร..?

6.      กรณีทันตกรรม - ขูดหินปูน - ถอนฟัน - อุดฟัน - ผ่าฟันคุด -ใส่ฟันเทียม จะได้รับสิทธิอย่างไร..?

7.      กรณีคลอดบุตร การได้รับสิทธิของผู้ประกันตนหญิงและผู้ประกันตนชาย จะได้รับสิทธิอย่างไร..?

8.      กรณีลาตรวจครรภ์ และลาคลอดบุตรจะได้รับสิทธิอย่างไร..?

9.      กรณีสงเคราะห์บุตรจะได้รับสิทธิตามกฎหมายบัญญัติไว้อย่างไร..?

10. กรณีทุพพลภาพร้ายแรงหรือไม่ร้ายแรงจะได้รับสิทธิอย่างไร..?

11. ในกรณีตายหรือสูญหาย จะได้รับสิทธิจากกองทุนประกันสังคมอย่างไร..?

12. กรณีชราภาพและเงินบำเหน็จชราภาพ มีเงื่อนไขในการส่งและจะได้รับสิทธิอย่างไร..?

13. การได้รับสิทธิเงินบำนาญชราภาพ มีเงื่อนไขในการส่งและจะได้รับสิทธิอย่างไร..?

14. กรณีผู้รับเงินบำนาญชราภาพถึงแก่ความตายภายใน 60 เดือน หรือ ( 5 ปี ) จะได้รับสิทธิอย่างไร..?

15. ผู้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนกรณีถึงแก่ความตายหรือสูญหาย กฎหมายบัญญัติไว้ให้ได้รับสิทธิมีใครบ้าง..?

16. กรณีว่างงาน ด้วยเหตุ ถูกเลิกจ้างโดยผิดวินัยร้ายแรง - ถูกเลิกจ้างโดยได้รับค่าชดเชย - ลาออก จะได้รับสิทธิอย่างไร..?      

 

*** หมวด2: การได้รับสิทธิของลูกจ้างจากกองทุนเงินทดแทน ***

17. วัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐที่จัดตั้งกองทุนเงินทดแทนขึ้น มีจุดประสงค์หลักอย่างไร..?

18. เมื่อลูกจ้างเข้าปฏิบัติงานให้กับนายจ้างจะได้รับการคุ้มครองจากกองทุนเงินทดแทนเมื่อใด..?

19. การประสบอันตรายเนื่องจากการทำงานให้กับนายจ้าง หมายความว่า อย่างไร..?

20. การเจ็บป่วยด้วยโรคเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง หมายความว่า อย่างไร..?

21. การสูญหายอันเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง หมายความว่าอย่างไร..?

22. ในเวลานอกการทำงานเมื่อลูกจ้างเจ็บป่วยเนื่องมาจากการปกป้องทรัพย์สินของนายจ้างเป็นการกระทำลักษณะใด

23. เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้างจะได้รับการคุ้มครองอะไรบ้าง..?

24. ในกรณีลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

25. หน้าที่ของนายจ้างในการนำส่งลูกจ้างเข้ารับการรักษาพยาบาล ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

26. ค่ารักษาพยาบาลตลอดระยะเวลาการรักษากองทุนเงินทดแทนมีอัตราจ่ายอย่างไร..?

27. ค่าทดแทนกรณีเจ็บป่วยต้องพักรักษาตัวและไม่สามารถทำงานได้ มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไร..?

28. ยกตัวอย่าง เพื่อเปรียบเทียบ การจ่ายค่าตอบแทน ตามค่าจ้างในกรณีต่างๆ

29. ค่าทดแทนกรณีสูญเสียสมรรถภาพในการทำงานของร่างกาย มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไร..?

30. ค่าทดแทนกรณีทุพพลภาพเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไร..?

31. ค่าทดแทนกรณีถึงแก่ความตายหรือสูญหายเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้าง มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไร..?

32. ผู้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนกรณีถึงแก่ความตายหรือสูญหาย กฎหมายบัญญัติให้ได้รับสิทธิมีใครบ้าง..?

·    ถาม - ตอบ - แนะนำ

·    ผู้เข้าร่วมสัมมนา - นายจ้าง - ผู้บริหาร - พนักงานทุกระดับ

·    ให้คำปรึกษาหลังการสัมมนา "ฟรี" ตลอดกาลไม่มีค่าใช้จ่าย


วิทยากร


อ.สมบัติ น้อยหว้า



สถานที่อบรม (VENUE)

Online by Zoom/ Onsite Training

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

26 เมษายน 2566 9.00 น. – 16.00 น.

จัดโดย

บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เบอร์ติดต่อ : 090 645 0992 , 089 606 0444

ค่าธรรมเนียม (FEE)

2500 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 163 ครั้ง