Online เทคนิคการปรับปรุงและลดความผิดพลาดในการทำงานผลิต 22 ธันวาคม 2565

22 ธันวาคม 2565


เปิดรับสมัคร อบรม หลักสูตร เทคนิคการปรับปรุงและลดความผิดพลาดในการทำงานผลิต" อบรม22 ธันวาคม2565

       ความผิดพลาดที่เกิดจากผู้ใช้งานซึ่งเกิดขึ้นที่โรงงานผลิตและนำไปสู่ข้อบกพร่อง โดยทั่วไปมักจะเรียกข้อผิดพลาดในการทำงานต่างๆ ที่เกิดจากผู้ใช้งานว่าข้อผิดพลาดที่เกิดจากความประมาท กลไกสำหรับการป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดที่เกิดจากความประมาทและเพื่อป้องกันไม่ให้มีผลิตภัณฑ์ที่มีตำหนิไปปะปนกับผลิตภัณฑ์ที่ดี ถึงแม้ว่าจะเกิดข้อผิดพลาดที่เกิดจากความประมาทขึ้นจะเรียกว่าPoka yoke (การป้องกันข้อผิดพลาด) กลไกเหล่านี้จะแยกออกเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดข้อบกพร่อง (การหยุดทำงานเมื่อเกิดข้อผิดพลาด การจำกัดความผิดพลาด และการแจ้งเตือนเพื่อป้องกัน) และการตรวจจับข้อบกพร่อง (การหยุดทำงานเมื่อเกิดข้อบกพร่อง การจำกัดขั้นตอนการทำงาน และการแจ้งเตือนเมื่อเกิดข้อผิดพลาด) นอกจากนี้ยังสามารถระบุสาเหตุและกระบวนการเกิดข้อบกพร่อง ซึ่งจะช่วยพัฒนากลยุทธ์การปรับปรุงเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อบกพร่องซ้ำอีก โดยสรุปคือPoka yoke (การป้องกันข้อผิดพลาด) หมายถึงกลไกการแจ้งเตือนผู้ใช้งานเมื่อเกิดข้อบกพร่องขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้ผลิตภัณฑ์ที่มีข้อบกพร่องไปปะปนกับผลิตภัณฑ์ที่ดีเมื่อเกิดข้อบกพร่องขึ้นแม้จะเกิดขึ้นได้ยาก และป้องกันไม่ให้เกิดข้อบกพร่องซ้ำอีก

          ความผิดพลาดนั้นยังเกิดได้จากการควบคุมคุณภาพสินค้าที่ไม่เป็นไปตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ ซึ่งจะสร้างความไม่พึงพอใจให้กับลูกค้าได้อีกด้วย ดังนั้นการใช้หลักการQC (Quality Control)มาปรับปรุงกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งหมายถึง การควบคุมคุณภาพสินค้าให้เป็นไปตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ และสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าสูงสุด ด้วยกระบวนการInspectionคือกระบวนการการตรวจสอบตำหนิและจุดบกพร่องของผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะทำการส่งกลับไปแก้ไขหรือคัดทิ้ง จากนั้นจึงทำการบันทึกและเก็บสถิติของลักษณะรวมทั้งจำนวนผลิตภัณฑ์ต่างๆที่เกิดการบกพร่อง สำหรับนำไปวิเคราะห์สาเหตุปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น แล้วจึงทำการแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ผู้ผลิตสามารถทำการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพใกล้เคียงกับคุณสมบัติที่ตั้งไว้มากที่สุดต่อไป เราจึงควรศึกษาระบบการควบคุมคุณภาพเพื่อลดความผิดพลาด รวมถึงลดของเสีย หรือสิ่งที่ลูกค้าไม่ต้องการออกไปให้ได้มากที่สุด ซึ่งจะส่งผลถึงผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นได้อีกด้วย

 

วัตถุประสงค์

ลดความผิดพลาดที่เกิดจากความประมาทที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตและการดำเนินงาน

เพื่อสร้างระบบการแจ้งเตือนเพื่อป้องกันและการตรวจจับข้อบกพร่องได้อย่างชัดเจน

เพื่อป้องกันไม่ให้มีผลิตภัณฑ์ที่มีตำหนิหรือของเสียเพิ่มขึ้น

เพื่อเพิ่มผลิตภัณฑ์ที่ดีตามที่ต้องการให้มากขึ้น

เพื่อเพิ่มผลิตภาพให้มากขึ้นโดยไม่ต้องเพิ่มต้นทุนการผลิต

เพื่อเพิ่มศักยภาพในการควบคุมคุณภาพของสินค้าตามเป้าหมายที่ต้องการ

เพื่อเพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้อย่างยั่งยืน

เนื้อหาของหลักสูตร

การลดความผิดพลาดตามหลักการPoka-yoke

ระบบPoka Yokeจะควบคุมความผิดพลาดได้อย่างไร

การนำหลักการZQC (Zero Quality Control)และPDCA (Plan, Do, Check, Action)มาประยุกต์ใช้ให้ได้ผล

Quality Control (การควบคุมคุณภาพ) และองค์ประกอบของการควบคุมคุณภาพ

แนวทางการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ และการควบคุมคุณภาพด้วยเครื่องมือQC 7 Tools

กรณ๊ศึกษาการลดความผิดพลาดและการควบคุมคุณภาพ

วิธีการสัมมนา  การบรรยาย การฝึกปฏิบัติ และร่วมอภิปราย

 

กลุ่มเป้าหมาย   กลุ่มหลัก  ผู้จัดการโรงงาน/ ผู้บริหารระดับสูงและกลาง หรือเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร ฝ่าย ฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายบุคคล วิศวกร

 

ระยะเวลา        1 วัน   จำนวน 6 ชั่วโมง  เวลา9.00 - 16.00 น.

วิทยากร         อ.อนันต์ ดีโรจนวงศ์

ราคาโปรโมรชั่น2,500 บาท บรรยาย09.00-16.00

โปรโมรชั่นสมัคร3 ท่าน ท่านละ ท่านเเถม1 ท่าน เข้าอบรมได้4 ท่าน

ราคาหลักสูตรออนไลน์ รับใบประกาศ

 

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด (สำนักงานใหญ่)

เลขที่31/155 หมู่ที่1 ตำบลรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี12110

เลขประจำตัวผู้เสียภาษี:0105557143661

 

........

โปรโมชั่น พิเศษดังกล่าว สงวนสิทธิ์เฉพาะ

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เท่านั้นติดต่อสอบถาม

Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง

E-mail: [email protected]

Line id : @Tesstraining

Facebook : tesstrainingpage

ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร

https://www.tesstraining.com

 

 

Admin mild


สถานที่อบรม (VENUE)

Novotel Bangkok Sukhumvit 20 ติด BTS อโศก

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

22 ธันวาคม 2565 09.00-16.00

จัดโดย

บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 0988209929

ค่าธรรมเนียม (FEE)

2500 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 269 ครั้ง