ภาษีอากรสำหรับเงินเดือน ค่าจ้าง สวัสดิการของพนักงาน

20 ตุลาคม 2566


หัวข้อการอบรม

1. ภาษีที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีต้องรู้

- ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 
- ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
- กฎหมายใหม่ที่ฝ่ายบุคคลและฝ่ายบัญชีไม่ควรพลาด

2. การหักลดหย่อนและการหักค่าใช้จ่ายตามหลักเกณฑ์ใหม่ 2565
- เมื่อยื่นแล้วสามารถแก้ไขได้หรือไม่
- แบบฟอร์ม ลย.01 
- กรณีพนักงานแจ้ง ลย.01ผิด ใครต้องรับผิดชอบ
3. เกณฑ์การตรวจสอบของสรรพากรเกี่ยวกับประเภทรายได้ของพนักงานลูกจ้าง
4. ประเด็นการให้สวัสดิการแก่ลูกจ้างที่ฝ่ายบุคคลและผู้บริหารต้องรู้เพราะมักถูกสรรพากรตรวจสอบ
5. เขียนสวัสดิการอย่างไรให้บริษัทลงรายจ่ายได้และไม่เป็นรายได้พนักงาน
6. สวัสดิการที่ให้พนักงานจะเลือกให้แค่บางปีได้หรือไม่
7. การหัก ณ ที่จ่าย กรณีต่างๆ ทางภาษีที่เกี่ยวกับการให้สวัสดิการที่มีปัญหา มีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- ค่าคอมมิชชั่นมีหลักเกณฑ์การจ่ายอย่างไร 
- ค่าครองชีพมีเงื่อนไขการจ่ายอยู่ที่เหตุผลใด
- ค่าเที่ยวคนขับรถต้องจ่ายทุกครั้งหรือไม่ 
- เบี้ยขยัน มีการประเมินก่อนจ่ายหรือไม่
- เบี้ยเลี้ยงจ่ายให้กับพนักงานฝ่ายไหน อัตราเท่าใด
- ค่าน้ำมันรถส่วนตัวของพนักงาน มีการอนุมัติและผ่านการตรวจสภาพหรือไม่จ่ายตามจริงหรือเหมาจ่ายรายเดือน
- ค่าโทรศัพท์มีการแสดงหมายเลขปลายทางหรือไม่
- โบนัสเป็นลักษณะผันแปรหรือคงที่และจ่ายจากยอดขายหรือผลกำไร
- ค่ารักษาพยาบาลให้ทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกด้วยหรือไม่
- การประกันภัยกลุ่มพนักงาน ระบุผู้ใดเป็นผู้รับประโยชน์ในกรมธรรม์
- ทุนการศึกษาของพนักงานต้องไปเรียนในด้านใด
- ทุนการศึกษาบุตรของพนักงานมีการกำหนดระดับการศึกษาหรือไม่ - ช่วยเหลืองานสมรส ต้องมีทะเบียนสมรสหรือไม่
- ช่วยเหลืองานศพ ต้องจัดทำพวงหรีดและวางไว้ณ จุดใด
- ออกภาษีให้พนักงานกำหนดในระเบียบหรือหนังสือสัญญา
- การเลี้ยงอาหารกลางวันและเครื่องดื่มต่างจากการให้น้ำดื่มอย่างไร
- การใช้รถประจำตำแหน่งของผู้บริหารหลังเลิกงานแล้วจอดที่ใด
- เงินประจำตำแหน่งผู้บริหารอยู่ในโครงสร้างเงินเดือนหรือไม่
- รถรับ-ส่งพนักงานต่างจากรถรับ-ส่งนักเรียนอย่างไร
8. การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายที่ต้องระมัดระวัง
- เริ่มทำงานปีแรก
- ปรับเงินเดือนระหว่างปี
- เกษียณอายุ 
- ลาออกจากงาน /การจ่ายเงินได้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน
- เลิกจ้าง
- ลาออกจากกองทุน
9. กรณีจ้างOut sourceต้องคำนวณหักภาษีณ ที่จ่ายอย่างไร
10. เมื่อมีการทุจริตจะบังคับให้ชดใช้จากเงินเดือนได้หรือไม่ ในทางภาษีจะคำนวณอย่างไร
11. ตรวจสอบข้อบังคับการทำงาน และระเบียบสวัสดิการพนักงาน
12. ประเด็นสวัสดิการที่มีปัญหากับประกันสังคม
13. การลงรายจ่ายค่าอบรม200% ต้องทำอย่างไร
-Public Training 
-In-house Training

14. ปัญหาการนำส่งภาษีขาย-การขอคืนภาษีซื้อที่เกี่ยวกับสวัสดิการพนักงาน
15. ปัญหาการนำส่งแบบและการนำส่งอัตราภาษีผิดพลาดต้องปฏิบัติอย่างไร
16. ประเด็นการตรวจสอบของกรมสรรพากรจากสวัสดิการที่บริษัทให้กับพนักงาน
17. ปัญหาที่เกิดจากการคำนวณภาษีให้พนักงานตอนสิ้นปี
18. ประเด็นความรับผิดชอบกรณีนายจ้างหักภาษี ณ ที่จ่ายเงินเดือนค่าจ้าง ไม่ถูกต้อง


ค่าสัมมนาท่านละ 3,500 บาท (ไม่รวม VAT 7%)


ห้างหุ้นส่วนจำกัด โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง โซลูชั่น

89/161หมู่บ้านพฤกษาวิลล์ 23 ซอยพระยาสุเรนทร์ 21 แยก 3 แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510

เลขประจำตัวผู้เสียภาษี  0103553030100

Tel 02-1753330 , 086-8929330 , 086-6183752


Email:[email protected]/[email protected]

www.ptstraining.in.th


วิทยากร

อ.สิงห์ติยกร ทวิพัฒน์


สถานที่อบรม (VENUE)

Jasmine City Bangkok Hotel sukhumvit 23

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

20 ตุลาคม 2566 09.00-16.00

จัดโดย

Professional Training Solution Co.,Ltd. (PTS)
เบอร์ติดต่อ : 086-8929330

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3500 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 1471 ครั้ง