เทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ (Problem Solving & Decision Making)

27 มิถุนายน 2561

หลักการและเหตุผล

ในการทำงานบ่อยครั้งมักเกิดคำถามขึ้นว่า "ปัญหาคืออะไร"และมักไม่ได้รับคำตอบจากผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือปัญหานั้นไม่ได้รับการแก้ไขอย่างแท้จริง ซึ่งเห็นได้จากการที่ปัญหาเดิมเกิดขึ้นซ้ำอยู่เสมอ ยิ่งไปกว่านั้นคือมีคนจำนวนมากมักจะแก้ปัญหาจากประสบการณ์และความรู้สึก หรือใช้อารมณ์  ทำให้การแก้ไขไม่มีแนวทางที่ชัดเจน และไม่สามารถทำงานให้สำเร็จตามเป้าหมายได้

หลักสูตรนี้จึงมุ่งเน้นให้ผู้เข้าอบรมได้ทราบวิธีการและขั้นตอนการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมทั้ง 5ขั้นตอน อีกทั้งได้ทดลองฝึกใช้เครื่องมือการแก้ปัญหาและการตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เพื่อนำเทคนิค และแนวทางดังกล่าวไปใช้ในการพัฒนาทักษะการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจของตน และองค์กรอย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น


วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม

  1. เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของการยอมรับปัญหาและกระบวนการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
  2. เพื่อเรียนรู้และฝึกใช้งานขั้นตอนการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
  3. เพื่อเรียนรู้และฝึกใช้เครื่องมือที่น่าสนใจเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. เพื่อได้แนวทางในการพัฒนาทักษะการแก้ไขปัญหาของตน


หัวข้อการอบรม-สัมมนา

Ø     สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้การแก้ปัญหาและตัดสินใจไม่ง่ายอย่างที่คิด

  1. ปัญหาของคน : เรียนรู้วิธีการจัดการกับคน ไม่ให้ปัญหาเกิดปัญหาด้านอารมณ์
  2. ปัญหาของงาน : เรียนรู้วิธีการจัดการกับระบบงาน เงื่อนไข เป้าหมายของงานที่ขัดแย้งกัน

1.    ในแต่ละฝ่ายงาน

2.    ปัญหาของสถานการณ์ :เรียนรู้วิธีการจัดการกับข่าวลือ สถานการณ์ที่ไม่คาดคิดปัจจุบันทันด่วน

Ø     กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาและตัดสินใจ 4 ขั้นตอน

1.การวิเคราะห์สถานการณ์ ด้วยหลักการE-I-Pพร้อมกรณีศึกษา

 -วิเคราะห์เหตุการณ์(Event)               

 -ลำดับความสำคัญ(Importance)

 -กระบวนการที่ใช้(Process)

2.การวิเคราะห์การแก้ปัญหา 5ขั้นตอน พร้อมกรณีศึกษา

 -กำหนดปัญหา

 -วิเคราะห์ข้อมูลของปัญหา

 -ค้นหาสาเหตุของปัญหา

 -การแก้ปัญหา

 -การติดตามผล

3.กระบวนการตัดสินใจ5 ขั้นตอน พร้อมเครื่องมือและฝึกจากกรณีศึกษา

 -กำหนดเป้าหมายและผลลัพธ์

 -กำหนดมาตรฐานเปรียบเทียบ

 -สำรวจทางเลือก

 -ประเมินทางเลือก

 -การตัดสินใจเลือก

4.กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาที่น่าจะเกิดขึ้น (เชิงป้องกัน) 4ขั้นตอน พร้อมกรณีศึกษา

 -กำหนดแผนปฏิบัติงาน

 -ระบุปัญหาและอุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้น

 -การป้องกันและแผนสำรอง

 -การทบทวนแผนและซักซ้อม

Ø     สรุปหลักการและแนวทางการแก้ปัญหาและตัดสินใจ

Ø     แถมด้วยเทคนิคการจัดการความขัดแย้งระหว่างบุคคลในการทำงานร่วมกัน

Ø     สุดยอดหลักการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q.)

Ø    เกมหรือกรณีศึกษา:ที่ออกแบบไว้แล้วหรือออกแบบตามความต้องการของผู้เข้ารับการฝึกอบรม

 

วิธีการฝึกอบรมบรรยายสลับกับการฝึกปฏิบัติ สรุปเทคนิควิธีการที่ใช้ได้จริง

ระยะเวลาฝึกอบรม1วัน

จำนวนผู้เข้าอบรม 20 คน


Fee Seminar/อัตราค่าลงทะเบียน ต่อ คน

(รวมค่าวิทยากร เอกสารบรรยาย อาหารกลางวันแบบบุฟเฟ่ต์ อาหารว่าง เครื่องตลอดการอบรม)

ค่าอบรม(Seminar Fee)

ราคาก่อนVAT

VAT 7%

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 3%

ราคาสุทธิ

   ค่าสัมมนา /1 ท่าน

3,800

266

(114)

3,952

   Early Birdชำระล่วงหน้า

3,400

238

(102)

3,536

   Pro 1สมัคร3ท่านๆละ

3,300

231

(99)

3,432

 

วิธีการชำระเงิน:

1. โอนผ่านบัญชีธนาคาร ดังนี้

 ธนาคารกสิกรไทย บัญชีสะสมทรัพย์ สาขาเดอะมอลล์บางกะปิ เลขที่ 732-2-458238    ชื่อบัญชี หจก.โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง โซลูชั่น 

          พร้อมระบุชื่อบริษัทของท่าน และชื่อหลักสูตร

ชำระด้วยเช็คบริษัท สั่งจ่าย หจก.โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง โซลูชั่น(Professional Training Solution Ltd, Partnership)

 

กรณีหัก ณ ที่จ่าย ให้นำไปให้ในวันที่จัดอบรม หรือส่งไปรษณีย์

3.  หัก ณ ที่จ่าย 3% ทะเบียนนิติบุคคลเลขที่ เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 0103553030100

หจก.โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง โซลูขั่น 

เลขที่89/161หมู่บ้านพฤกษาวิลล์ 23ซ.พระยาสุเรนทร์21แยก3

แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ10510

 

รายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ:คุณอรัญญา 086-8929330

Professional Training Solution

Tel  02-1753330,086-6183752 

Fax.  02-9030080ext.9330

www.ptstraining.co.th

อีเมล์ [email protected], [email protected]


 




คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

พนักงาน หัวหน้างาน ผู้สนใจทั่วไป

วิทยากร

อ.พรเทพ ฉันทนาวี


สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมอไร้ซ สุขุมวิท 26

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

27 มิถุนายน 2561 09.00-16.00 น.

จัดโดย

Ptstraining (Professional Training Solution)
เบอร์ติดต่อ : 086-6183752

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3,800 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 5047 ครั้ง