หลักการและเหตุผล
การนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเติบโตมากขึ้นตามความเติบโตทาง
เศรษฐกิจของประเทศ และการตกลงทางการค้าว่าด้วยเขตการค้าเสรี (FTA)โดยมีหลักการที่พยายามลดอุปสรรคทางการค้าลง
โดยเฉพาะการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีระหว่างคู่สัญญา เนื่องจากขั้นตอนการนำ
เข้าสินค้ามีขั้นตอนที่ยุ่งยาก
และมีปัญหาทางด้านต้นทุนผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและ
ศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้ม
ค่ากับความตั้งใจการลงทุน
เพอเฟกท์ เทรนนิ่งฯ
จึงขอเรียนเชิญผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า-ส่งออก, นักธุรกิจ, ผู้ผลิต,
ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ, ผู้นำเข้า-ส่งออก,
พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้สนใจทั่วไปที่ต้องการทำธุรกิจ
นำเข้า-ส่งออกเข้าร่วมการอบรมในครั้งนี้
วันที่ 3ตุลาคม 2562 (บรรยายโดย อ.วัชระ ปิยะพงษ์)
1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออก
2.เงื่อนไขการส่งมอบสินค้า (Incoterms
2010)
- EXW
- FCA
- FAS
- FOB
- CFR
- CIF
- CPT
- CIP
- DAT
- DAP
- DDP
3.เครื่องมือที่ใช้ในการชำระค่าสินค้า
หลักการและวิธีการของ
- การชำระเงินด้วยเล็ตเตอร์ออฟเครดิต (Letter of Credit)
-ตั๋วเรียกเก็บผ่านธนาคาร
(Bill
for lection)
-การฝากขาย(Consignment)
-ผู้ขายเปิดบัญชีขายเชื่อให้กับผู้ซื้อ
(Open
Account)
-การชำระเงินล่วงหน้าหรือการชำระด้วยเงินสด
(Cash
in Advanced)
13:00-16:00
น.
4. ขั้นตอนในการส่งสินค้า และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องทางการค้าระหว่างประเทศ
- เอกสารทางการเงิน (Financial Document)
วันที่ 4 ตุลาคม 2562(บรรยายโดย อ.วิรัตน์ บาหยัน)
1.หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการนำเข้าตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560
- ความรับผิดในการเสียค่าอากร การคำนวณค่าภาษีอากร
- อายุความในการประเมินอากรหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit)
-เงินเพิ่ม เบี้ยปรับ ดอกเบี้ย
2. อากรศุลกากร ภาษีสรรพสามิต ภาษีมูลค่าเพิ่ม และอากรพิเศษอื่น ๆ
3. e-Import :การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนำเข้า
4. หลักเกณฑ์ด้านพิกัดอัตราศุลกากร (HS Code)พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน (AHTN)
5. หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากร
- การยกเว้นหรือลดอัตราอากรทั่วไปตามมาตรา 12
- การยกเว้นหรือลดอัตราอากรสำหรับเขตการค้าเสรี (FTA)
6. e-Export:พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าส่งออก
7. การยกเว้นอากรสำหรับของส่งออกแล้วจะนำกับเข้ามาในภายหลัง (สุทธินำกลับ)
8. การขอคืนอากรสำหรับสินค้าที่นำเข้ามาแล้วส่งกลับออกไป (Re-Export)
9. การคืนอากรสำหรับของที่นำเข้ามาผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดำเนินการด้วยวิธีอื่นใด (มาตรา 29)
10. การจัดตั้งและสิทธิประโยชน์ของคลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)
11. การจัดตั้งและสิทธิประโยชน์ของเขตปลอดอากร (Free Zone)
12. การจัดตั้งและสิทธิประโยชน์ของเขตประกอบการเสรี (I-EAT Free Zone)
12. การขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรสำหรับสินค้าส่งออก (Tax Coupon)
13. ปัญหา ข้อควรระวัง และแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการนำเข้า-ส่งออก
คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม
ผู้ประกอบการนำเข้า ส่งออก,ฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ,พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้สนใจทั่วไป