ศิลปะการบังคับบัญชา และผลักดัน ให้ลูกน้องทำงานอย่างได้ผล (Arts of Effective Directing & Driving

23 เมษายน 2563

หัวหน้าหลายคน.....สั่งงานและผลักดันงานลูกน้อง “ไม่เป็น”

ไม่ติดตามควบคุมงาน ไม่รู้จะใช้อำนาจปกครองลูกน้องอย่างไร เป็นแต่หัวหน้าแบบ “ใจดี” ที่สร้างผลงานไม่ได้ตามเป้า

นานวันเข้า ลูกน้องขาดความศรัทธา

ลูกน้องหมดโอกาสเติบโต และเสียความสัมพันธ์การทำงาน

หากเป็นปัญหาแบบนี้ หลักสูตรของเราช่วยท่านได้....

การสั่งงาน (Directing) การควบคุมงาน (Controlling) การติดตามงาน (Following) กับลูกน้อง ถือเป็นหน้าที่งานด้านการ บริหารจัดการงานสำคัญของผู้จัดการและหัวหน้างาน ที่ต้องฝึกฝนทักษะความสามารถเนื่องจากเป็นทักษะที่มีต่อความสำเร็จและล้มเหลวในการทำงานตามเป้าหมายของหน่วยงานและขององค์กรอย่างมาก โดยเฉพาะในยุคที่มีคนทำงานหลากหลายช่วงวัยทำงานด้วยกัน ประกอบกับผู้จัดการและหัวหน้างานยุคใหม่ มีความเชี่ยวชาญในงานแต่อาจจะขาดทักษะในการสั่งงาน ควบคุมและติดตามผลงานลูกน้องอย่างเป็นระบบ เมื่อเกิดปัญหาขึ้น ก็ไม่สามารถใช้การบังคับบัญชาที่ต้องอาศัย การใช้ทั้งพระเดชและพระคุณในการปกครองบังคับบัญชาควบคู่กันให้ได้ผล และไม่ถนัดกับการพูดคุยเพื่อผลักดันงานลูกน้อง ทำงานของตัวเองไป ในขณะที่ลูกน้องก็ทำงานของตนเองเสมือนหนึ่งต่างคนต่างทำงาน เพื่อให้ปัญหาหรือข้อติดขัดเช่นนี้หมดไป ผู้จัดการและหัวหน้างานควรได้เรียนรู้ทักษะตามหลักสูตรนี้

ตัวอย่างหัวข้อเรียนรู้

บทบาทหน้าที่ของหัวหน้างานในการขับเคลื่อนผลงานลูกน้อง ปัญหาในการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่พบในองค์กร ลักษณะของการบังคับบัญชาที่ดีและข้อพึงระวัง

ทำความเข้าใจแนวทางการสื่อสารเพื่อการสั่งงาน ควบคุมและติดตามงาน

ศิลปะการใช้พระเดช/พระคุณเพื่อบริหารจัดการลูกน้อง

การจูงใจให้ลูกน้องทำงาน เป็นต้น

หัวข้อเรียนรู้ :

บทบาทหน้าที่ของหัวหน้างานในการขับเคลื่อนผลงานลูกน้อง ปัญหาในการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่พบในองค์กรของเรา

- การสั่งงานที่ผิดพลาดและไม่มีประสิทธิภาพ

- การควบคุมที่ไม่มีประสิทธิภาพ

- การติดตามงานที่ไม่ได้ผล ลักษณะของการบังคับบัญชาที่ดีและข้อพึงระวัง

- การสั่งงานและทำให้มั่นใจว่าลูกน้องเข้าใจงานที่สั่ง

- การควบคุมเพื่อให้งานเป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน

- การติดตามงานเพื่อทราบความคืบหน้าและนำข้อมูลมาปรับปรุงงาน ทำความเข้าใจแนวทางการสื่อสารเพื่อการสั่งงาน ควบคุมและติดตามงาน

- ทบทวนสไตล์การทำงานลูกน้อง 4 แบบตาม DISC พร้อมประเมินตนเอง

- เทคนิคการสั่งงานตามสไตล์ลูกน้อง

- เทคนิคการติดตามและควบคุมที่มีประสิทธิภาพโดยอิงตามสไตล์ลูกน้อง

- กรณีศึกษา : แนวทางการพัฒนาระบบติดตามและควบคุมงานเพื่อให้ได้ผลดีขึ้น

- Role Playing : การสื่อสารที่ได้ใจลูกน้อง

- การสื่อสารเพื่อการสั่งงานและการควบคุมที่มีประสิทธิภาพโดยอิงตามสไตล์ลูกน้อง

- การติดตามงานที่แตกต่างกันตามสไตล์ลูกน้อง ศิลปะการใช้พระเดช/พระคุณเพื่อบริหารจัดการลูกน้อง

- อำนาจบังคับบัญชาและการลงโทษทางวินัยกับพนักงาน

- ประเด็นเรื่องทำงานผิดพลาดบกพร่อง/พฤติกรรมไม่เหมาะสมกับการลงโทษทางวินัยกับพนักงาน

- ตัวอย่างการสั่งลงโทษด้วยวาจาพนักงาน และกรณีตัวอย่าง การปรับปรุงผลงานของลูกน้องอย่างได้ผล การจูงใจให้ลูกน้องทำงาน

- ทำไมแรงจูงใจในการทำงานของลูกน้องจึงเป็นเรื่องสำคัญ

- สร้างแรงจูงใจในการทำงานให้ลูกน้องด้วย DRIVE

- การสะท้อนผลงานเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ลูกน้อง

- ฝึกปฏิบัติ : พูดเพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงานให้กับลูกน้อง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้พร้อมถาม-ตอบ

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

วิธีการเรียนรู้ :

บรรยายอย่างย่อและซักถาม

อภิปรายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การระดมสมอง

กรณีตัวอย่าง พร้อมคำแนะนำ


หมายเหตุ :

1) ราคาค่าอบรม/สัมมนารวมอาหารว่าง 2 มื้อ อาหารกลางวัน เอกสารประกอบการฝึกอบรม พร้อม Certificate of Learning                                         

2) กรุณาชำระค่าบริการฝึกอบรม/สัมมนาล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วันทำการ

3) กรณียกเลิกการอบรม กรุณาแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วันทำการ มิฉะนั้น จะต้องเสียค่าธรรมเนียม 30% ของอัตราค่าบริการ


คุณสมบัติของผู้เข้าอบรม

เจ้าของธุรกิจขนาด SME ผู้จัดการฝ่าย/แผนกทุกสายงาน เจ้าหน้าที่อาวุโสที่จะได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้างาน วิทยากรภายในและผู้สนใจทั่วไป

วิทยากร

อ.สุกิจ ตรียุทธวัฒนา

วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการพัฒนาบุคลากร การขาย การตลาดและการบริการที่ประสบการณ์อย่างสูงในการฝึกอบรม/พัฒนาบุคลากรให้กับองค์กร ในธุรกิจบริการและโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยจำนวนมาก




สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมโกลด์ ออร์คิด วิภาวดี รังสิต แยกสุทธิสาร

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

23 เมษายน 2563 09.00-16.00 น.

จัดโดย


เบอร์ติดต่อ :

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 639 ครั้ง