หลักสูตร ครบเครื่อง เรื่อง “การนำเข้า-ส่งออก” : พิธีการศุลกากร กฎหมายภาษีศุลกากร พ.ร.บ.ศุลกากร ฉบับ

27 - 28 กันยายน 2561

หลักสูตร ครบเครื่อง เรื่อง "การนำเข้า-ส่งออก" :
พิธีการศุลกากร กฎหมายภาษีศุลกากร พ.ร.บ.ศุลกากร  ฉบับใหม่2560

 

วันพฤหัสบดีที่ 27 และ วันศุกร์ที่28กันยายน 2561 เวลา9.00น.- 16.30น.

Arize Hotelสุขุมวิท26ใกล้BTSสถานีพร้อมพงษ์ 



หลักการและเหตุผล

         การนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเติบโตมากขึ้นตามความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ และการตกลงทางการค้าว่าด้วยเขตการค้าเสรี (FTA)โดยมีหลักการที่พยายามลดอุปสรรคทางการค้าลง โดยเฉพาะการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีระหว่างคู่สัญญา เนื่องจากขั้นตอนการนำเข้าสินค้ามีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และมีปัญหาทางด้านต้นทุน ผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้มค่ากับความตั้งใจการลงทุน


หัวข้อการสัมมนา

วันที่1 :พิธีการศุลกากร กฎหมายภาษีศุลกากร  พ.ร.บ.ศุลกากรฉบับใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลง    (บรรยายโดย อาจารย์วิชัย มากวัฒนสุข)

1. การจดทะเบียนเป็นผู้ผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร

2. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า-ส่งออก ที่สอดคล้องกันและใช้ต่อเนื่อง

3. การประเมินราคาศุลกากร ค่าขนส่ง ค่าประกันภัย ค่าสิทธิ (Royalty Fee)

4. พิกัดอัตราศุลกากร การลดอัตราอากร ยกเว้นอากร การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรกรณีFTA

5. พิธีการศุลกากรนำเข้า-ส่งออก และการตรวจปล่อยสินค้าผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-import, e-Export)

6. ราคาศุลกากร /ระบบราคาGATT

7. การตรวจสอบพิกัดอัตราอากร และรหัสสถิติ

8. การสงวนสิทธิ์และวางประกันโต้แย้ง และการอุทธรณ์การประเมินอากร

9. แนวทางป้องกันและการแก้ไขปัญหาทางพิธีการศุลกากรการนำเข้า-ส่งออกในระบบอิเล็กทรอนิกส์

10. การใช้สิทธิประโยชน์ในการนำเข้า-ส่งออก

11. พ.ร.บ.ศุลกากร ที่ปรับเปลี่ยนใหม่ พ.ศ. 2560 /หลักเกณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่

12. จุดเปลี่ยนแปลงของพิกัดอัตราศุลกากรใหม่AHTH2017 ที่จะกระทบรายได้-รายจ่ายของกิจการพร้อมหลักเกณฑ์ใหม่ที่ถูกต้อง

 13. การเปลี่ยนแปลงบทบัญญัติว่าด้วย "การขนส่งด้วยคอนเทนเนอร์" จะกระทบกับผู้ใช้และผู้ให้บริการอย่างไร / การเปลี่ยนเรื่อง "การผ่านแดนและการถ่ายลำ" มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เป็นต้น

14. การเปลี่ยนแปลงบทลงโทษกรณีซื้อหรือรับไว้ซึ่งของเนื่องด้วยความผิด มาตรา 27

   

วันที่2 : ครบเครื่อง เรื่อง การ "นำเข้า-ส่งออก" ทั้งระบบ   (บรรยายโดย อาจารย์วัชระ  ปิยะพงษ์)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออก

  •      การไหลของวงจรการนำเข้า-ส่งออก ที่สำคัญ
  •      กระบวนการนำเข้า
  •      กระบวนการส่งออก
  •      การเจรจา การทำสัญญาในการทำธุรกรรมนำเข้า-ส่งออก
  •     กระบวนการส่งหรือรับสินค้าเมื่อเกิดรายการขาย หรือOrderในการนำเข้า-ส่งออก

 ขั้นตอนการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง

  •        ขั้นตอนในการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก (Import-Export Process)
  •      เอกสารทางการเงิน (Financial Document)
  •      เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)
  •      เอกสารทางการค้า (Commercial Document)

  

กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน

1.       กำหนดผู้ซื้อเป้าหมาย

         1.1 เลือกผู้ซื้อเป้าหมาย

         1.2 ตรวจสอบสถานภาพทางการเงินของผู้ซื้อ

         1.3 เสนอขาย

  2.การทำสัญญาข้อตกลงในการซื้อขาย

         2.1 ข้อควรระวัง

         2.2 เงื่อนไขในสัญญาต้องมีเพื่อลดความเสี่ยง

         2.3 พิจารณาข้อกำหนดทางการค้า

 3. วิธีการส่งสินค้าออกและการหาระวางบรรทุกสินค้า

         การขนส่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางรถไฟ การขนส่งทางรถบรรทุก และส่งสินค้าทางพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ

 4. วิธีการส่งมอบสินค้าต้องอาศัยข้อกำหนดทางการค้าเป็นตัวกำหนด เพื่อไม่ให้เสียเปรียบ    (International Commercial TermsหรือIncoterms ® 2010)

      EXW (Ex-Works)

      FCA (Free Carrier)

      FAS (Free Alongside Ship)

      FOB (Free on Board)

      CFR (Cost and Freight)

      CPT( Carriage Paid To)

      CIF (Cost Insurance and Freight)

      CIP (Carriage and Insurance Paid To)

      DAT (Delivered at Terminal)

      DAP (Delivered at place)

      DPP (Delivered Duty Paid)

 5. การวิเคราะห์เครื่องมือในการชำระเงิน

  •        Letter of Credit (L/C)ชำระด้วยแล็ตเตอร์ออฟเครดิต
  •        Bills For lection (D/P & D/A)ตั๋วเรียกเก็บผ่านธนาคาร
  •       Consignment การฝากขาย
  •       Open Account (O/A)ผู้ขายเปิดบัญชีขายเชื่อให้กับผู้ซื้อ
  •       Cash Advanced Paymentการชำระเงินล่วงหน้าหรือการชำระด้วยเงินสด

 6. การวิเคราะห์Letter of Creditโดยละเอียด

  •       เงื่อนไขที่เสียเปรียบที่ไม่ควรรับ
  •       การเตรียมเอกสารและการตรวจเอกสารโดยใช้ข้อบังคับของ UCP 600 เป็นตัวพิจารณา
  •       การขอแก้ไขL/C (Amendment)ที่ถูกต้อง

7.  การขอให้มีการยืนยันการชำระเงินเพื่อลดความเสี่ยง

8.  การNegotiateตั๋วในการส่งออกกับธนาคาร

9.  การทำInsuranceในการส่งออก

10. วิธีการโอนL/Cให้กับผู้อื่น

       10.1 การโอนจำนวนเงินทั้งหมดในL/C

       10.2 การโอนบางส่วนเพื่อรับเงินผลต่าง (ตั๋วประกบ)

       10.3 การโอนให้กับผู้รับโอนมากกว่าหนึ่งราย

11. เทคนิคเบื้องต้นในการป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้วย Forword Contract, Spot Contract,ฯลฯ

12. แนวทางในการเลือกประกันภัยเพื่อคุ้มครองสินค้าที่จัดซื้อจากต่างประเทศ

13. แนวทางในการเลือกวิธีการขนส่งสินค้าที่สั่งซื้อจากต่างประเทศที่คุ้มค่า ปลอดภัย ทันเวลา และเหมาะสมกับสินค้า

ระยะเวลาอบรม   2 วัน(09:00 - 16:00.)

เหมาะสำหรับ   ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้า-ส่งออก, นักธุรกิจ,ผู้ผลิต, ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อต่างประเทศ, ผู้นำเข้า-ส่งออก, พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้สนใจทั่วไปที่ต้องการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออกเข้า

วิธีการฝึกอบรม-สัมมนา บรรยาย กรณีศึกษา(Case Study)


ค่าใช้จ่ายในการอบรมหักลดหย่อนภาษีได้ 200 %

      รวมค่าเอกสารประกอบการอบรม ค่าอาหารว่าง2 มื้อ อาหารกลางวันและใบรับรองวุฒิบัตร

สถานภาพ

ค่าลงทะเบียน

ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 3%

ราคาสุทธิ

ราคาปกติท่านละ

7,800

546

234

8,112

พิเศษ!! สมัครครบ2ท่าน

7,200

504

216

7,488

 

 รายละเอียดหลักสูตรอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่นี่ คลิ๊ก http://www.hrdzenter.com/

สำรองที่นั่ง  ติดต่อเพิ่มเติมได้ที่

 

Tel :คุณธนนันท์ (จิ๋ว)0896060444, 0906450992, Line : hrdzenter

      คุณอิศราภรณ์ (พลอย) 0897737091

 www.hrdzenter.com E-mail : [email protected] ,www.facebook.com/hrdzenter


วิทยากร

อาจารย์วัชระ  ปิยะพงษ์


สถานที่อบรม (VENUE)

St.James Hotel สุขุมวิท 26 ** สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

27 - 28 กันยายน 2561 09.00-16.00

จัดโดย

บจก.ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เบอร์ติดต่อ : 0896060444, 0906450992

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 901 ครั้ง