การบัญชีต้นทุนและวิเคราะห์ต้นทุน (Cost Accounting & Cost Analysis)

19 มีนาคม 2564

บทนำ

"การบัญชีต้นทุนCost Accounting"เป็นการรวบรวมข้อมูลด้านต้นทุนทางธุรกิจ ในการจัดทำรายงานทางการเงินFinancial Statementเพื่อนำมาใช้ในการวิเคราะห์ต้นทุนCost Analysisและใช้ประโยชน์ในการบริหารต้นทุนCost Managementอย่างมีประสิทธิภาพ

"การบัญชีต้นทุนและวิเคราะห์ต้นทุน Cost Accounting & Cost Analysis"เป็นหลักสูตรที่จะช่วยทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับต้นทุน,ความสำคัญของการบัญชีต้นทุนต่อการบริหาร,การแยกประเภทของต้นทุน,การคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้า,การคำนวณต้นทุนสินค้าที่ขาย การจำแนกประเภทต้นทุน ทั้งต้นทุนวัตถุดิบMaterial Cost,ต้นทุนแรงงานLabour Cost,และโสหุ้ยการผลิตOverheadการคำนวณมูลค่าสินค้าคงเหลือ ทั้งวัตถุดิบทางตรงDirect Material,งานระหว่างทำWork in processและสินค้าสำเร็จรูปFinished Goods,ค่าใช้จ่ายในการขาย และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ทั้งที่เป็นต้นทุนผันแปรVariable Costและต้นทุนคงที่Fixed Cost

 

วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้ "นักบัญชี" มีความเข้าใจเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน การแยกประเภทต้นทุน การคำนวณต้นทุนการผลิต ต้นทุนขาย ต้นทุนสินค้าคงเหลือ เพื่อให้สามารถจัดทำบัญชีและรายงานทางบัญชีได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

2.เพื่อให้ "นักบัญชี" สามารถนำข้อมูลและรายงานทางบัญชีต้นทุน มาทำการวิเคราะห์ต้นทุนCost Analysisที่จำเป็นในการตัดสินใจของผู้บริหาร เพื่อนำพาองค์กรสู่ความสำเร็จด้วยข้อมูลทางบัญชีต้นทุนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา

3.เพื่อให้"นักบัญชี" สามารถนำวิธีการวิเคราะห์ต้นทุนCost Analysisที่เหมาะสมมาใช้ในการบริหารต้นทุนCost Managementอย่างมีประสิทธิภาพและเห็นผล

 

หลักสูตรนี้เหมาะกับ

1.ผู้จัดการฝ่ายบัญชี,ผู้จัดการแผนกบัญชี

2.ผู้จัดการฝ่ายบริหาร,ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่าย และผู้จัดการแผนก

3.หัวหน้างาน,เจ้าหน้าที่ที่ดูแลงานด้านการบัญชี,เจ้าหน้าที่บัญชีต้นทุน

 

วิธีการฝึกอบรม

1.บรรยายเนื้อหา,ตัวอย่างประกอบ

2. Workshop

3. Pre-test, Post-test

 

เนื้อหาหลักสูตร:

บทที่1:หลักการบัญชีต้นทุนCost Accounting

·ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน

·ขอบเขตของหลักการบัญชีการเงิน และหลักการบัญชีต้นทุน

บทที่2:การบัญชีต้นทุนเพื่อการบริหาร

·หลักการบัญชีต้นทุนกับกระบวนการบริหารจัดการ

·การใช้ข้อมูลการบัญชีต้นทุนในการบริหาร

บทที่3:หลักการแยกประเภทต้นทุนCost Accounting

·การจำแนกต้นทุนการผลิต Cost of Manufactured Product

·การจำแนกต้นทุนตามลักษณะการผลิต Prime Cost, Conversion Cost

·การจำแนกต้นทุนตามระดับกิจกรรม Variable Cost, Fixed Cost

·การจำแนกต้นทุนตามหน่วยต้นทุน Direct Cost, Indirect Cost

·การจำแนกต้นทุนตามสายการผลิต Cost of Production, Cost of Service

·การจำแนกต้นทุนตามหน้าที่งาน Manufacturing Cost, Financial Cost

·การจำแนกต้นทุนตามความสัมพันธ์กับเวลา Historical Cost, Future Cost

·การจำแนกต้นทุนตามความสัมพันธ์กับการตัดสินใจ Sunk Cost, Opportunity Cost, Differential Cost, Marginal Cost

บทที่4:ระบบการบัญชีต้นทุน

·ระบบPeriodic Cost Accumulation System

·ระบบPerpetual Cost Accumulation System

บทที่5:ลักษณะกระบวนการผลิต

·ระบบต้นทุนงานสั่งทำ Job Order Cost System

·ระบบต้นทุนช่วงการผลิต Process Cost System

บทที่6:ชนิดของต้นทุน

·ระบบต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง Actual Cost System

·ระบบต้นทุนปกติNormal Cost System

·ระบบต้นทุนมาตรฐานStandard Cost System

บทที่7:การคำนวณต้นทุนการผลิต,ต้นทุนขาย และต้นทุนต่อหน่วย

·ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิต Cost of Manufacturing

·วิธีการคำนวณต้นทุนวัตถุดิบใช้ไปในการผลิต Cost of Raw Materials Used

·วิธีการคำนวณต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป Cost of Finished Products

·วิธีการคำนวณต้นทุนสินค้าที่ขาย Cost of Goods Sold

·วิธีการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย Cost per unit

บทที่8:การจัดทำรายงานทางบัญชีตามงบการเงินFinancial Statement

·งบต้นทุนการผลิตCost of Goods Manufactured Statement

·งบกำไรขาดทุนProfit and Loss Statement

·งบแสดงฐานะการเงินFinancial Statement

บทที่9:การคำนวณอัตราส่วนต้นทุนCost Ratio

·การคำนวรอัตราส่วนInventory Turnover

·การคำนวณอัตราส่วนLanded Cost Ratio

·การคำนวณจุดคุ้มทุน Break Even Point

บทที่10:การบริหารต้นทุนCost Management

·การบริหารต้นทุนการจัดซื้อ วัตถุดิบทั้งในประเทศและต่างประเทศ

·เทคนิคการลดต้นทุนCost down, Cost Reductionจากงานจัดซื้อ

·การบริหารงานบุคคลกับการลดต้นทุนการสรรหาบุคลากร และงานAdmin

·การบริหารคลังสินค้าวัตถุดิบ สินค้าสำเร็จรูปให้มีประสิทธิภาพ

·การบริหารการผลิต ควบคุมต้นทุนการผลิต ลดของเสียจากการผลิต

·การบริหารการควบคุมคุณภาพ การลดต้นทุนของเสีย ต้นทุนจากข้อร้องเรียนของลูกค้า

·การบริหารงานฝ่ายซ่อมบำรุง ต้นทุนการบำรุงรักษาPreventive Maintenance

บทที่11:การบัญชีต้นทุนสำหรับผู้บริหารCost Data for Management

·ยอดสินค้าคงเหลือInventoryในงบการเงินFinancial Statement

·ยอดวัตถุดิบคงเหลือต่อยอดเบิกใช้ หรือยอดขาย

·จำนวนการสั่งซื้อวัตถุดิบ เทียบกับจำนวนเบิกใช้

·การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายกับเดือนก่อน เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์

·รายงานการลดต้นทุนCost downเทียบกับKPIของฝ่ายจัดซื้อ

·จำนวนชั่วโมงการหยุดเครื่องจักร Machine Break Down

·ยอดการผลิตเทียบกับแผนการผลิต เปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิต

·จำนวนครั้งที่มีข้อร้องเรียนของลูกค้า และต้นทุนของเสียจากปัญหาคุณภาพ

·จำนวนชั่วโมงการทำงานล่วงเวลา Overtimeเทียบกับแผนการผลิต

·จำนวนวัสดุสิ้นเปลืองที่มีการสั่งซื้อหรือการเบิกจ่าย Factory Supply

·รายการสินค้าคงเหลือค้างเกินกว่า 3เดือนSlow Movement, Dead Stock

บทที่12:การวิเคราะห์ต้นทุนCost Analysis

·ประเภทของรายงานต้นทุน และการกำหนดผู้รับผิดชอบการจัดทำรายงานแต่ละประเภท

·เทคนิคการจัดทำรายงานต้นทุนแต่ละประเภท พร้อมตัวอย่าง

·ตารางการวิเคราะห์ต้นทุน Cost Analysis Metricที่มีประสิทธิภาพ

 

อาจารย์กุหลาบ เจียมจิตรพานิช

 

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท20

 

บุคคลทั่วไป ท่านละ3,900บาท

สมาชิก ท่านละ3,500บาท

ลงทะเบียน3ท่านขึ้นไป ท่านละ 3,200บาท

ลงทะเบียน5ท่านขึ้นไป ท่านละ 2,900บาท

**ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม7%**


บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เลขที่ 98/83 หมู่ที่ 4ตำบลบึงยี่โถ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี12130

www.knctrainingcenter.com

[email protected]
โทร. :02-157-9083,062-315-5283

วิทยากร

อาจารย์กุหลาบ เจียมจิตรพานิช



สถานที่อบรม (VENUE)

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท20

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME)

19 มีนาคม 2564 09.00-16.00

จัดโดย

บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
เบอร์ติดต่อ : 0623155283,021579083

ค่าธรรมเนียม (FEE)

3900 (ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ผู้เข้าชม: 456 ครั้ง